วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 03/30-06-2552

สรุป Array and Record อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซต คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บเท่ากันเรียงต่อเนื่องในหน่วยจำหลัก การกำหนด Array จะต้องกำหนดชื่อพร้อม subscript มีได้มากกว่า 1 จำนวน ถ้าอะเรย์มี subscript มากกว่า 1 ตัว เป็นอะเรย์หลายมิติ ค่าต่ำสุดของ subscript คือ ขอบเขตว่าง (lower boand) ค่าสูงสุดเรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound) การหาจำนวนสมาชิกหรือขนาดของอะเรย์มาจาก Upper bound - lower bound + 1 รูปแบบอะเรย์ 1 มิติ data - type array - name (expression) ประเภท ชื่อ นิพจน์จำนวนเต็มที่ระบุ รูปแบบตัวแปรชนิด Character char array - name [n]="string"; จะเก็บค่าไอโดยอัตโนมัติ เพื่อแสดงค่าสิ้นสุด กำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ให้กับฟังก์ชันได้ 2 ลักษณะ 1. ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript เช่น swap(num[2],num[3]); 2. ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript เช่น #define N10 รูปแบบอะเรย์มี 2 มิติ type aeeay -name[n][m]; Record or Struetare เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่าง ประเภทกัน รวมเป็น 1 ข้อมูล คือ ประกอบด้วย data element หรือ field ต่างๆ ในภาษา C กำหนดข้อมูลเป็นรูปแบบ Structure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกัน โดยใน Structure อาจมีสมาชิกจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์หรือพอยน์เตอร์หรือแม้แต่ Structure เราสามารถประกาศ structure เป็นสมาชิกของ structure ได้โดยประกาศไว้ด้านนอก เราสามารถกำหนดวงเล็บปีกกา ค่าเริ่มต้นแต่ละตัวแยกด้วย, ประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์สำหรับ structue ดังนี้ type*ptvar เครื่องหมาย *ใช้งาน 2 ลักษณะ 1. ใช้ในการประกาศ parameter ว่าเป็นตัวแปรแบบพอยน์เตอร์ 2. ใช้เป็น deveferencing operator ค่าที่ตำแหน่งพอยน์เตอร์ชี้อยฤมาแสดง ตัวแปรที่มีเครื่องหมาย & นำหน้าจะไม่สามารถนำมาคำนวณได้ การผ่าน structure ใช้ฟังก์ชันมี 2 ประเภท คือ 1. สิ่งสมาชิกแต่ละตัวของ structure และส่งกลับ ได้ใช้คำศัพท์ return 2. ส่งผ่านทั้ง structure ใช้กับฟังก์ชั่น โดยส่งผ่านอะเรย์เรียกว่า pass by reference

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS 02/23-06-2552

สรุป โครงสร้างข้อมูล คือ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้าง กระบวนการจัดการข้อมูล ทำได้ทั้ง เพิ่ม แก้ไข ลบ โครงสร้างข้อมูลที่ใช้กันมี 2 ประเภท คือ โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ เป็นข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ จำนวนเต็ม จำนวนจริง และตัวอักขระ และข้อมูลโครงสร้าง ได้แก่ แถวลำดับ ระเบียน ข้อมูลและแฟ้มข้อมูล โครงสร้างทางตรรกะ เป็นข้อมูลแบบเชิงเส้น ข้อมูลจะเชื่อมต่อเนื่องกัน เช่น ลิสต์ สแตก คิว สตริง ข้อมูลไม่เชิงเส้น สัมพันธ์กับข้อมูลหลายตัว ได้แก่ ทรี และกราฟ การเลือกใช้รูปแบบต้องคำนึงถึงความสัมพันธ์กับข้อมูล ได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด และง่ายต่อการดำเนินงาน การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักมี 2 วิธี การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก เป็นการจองเนื้อที่แบบคงที่แน่นอน ไม่สามารถปรับเปลี่ยน เพิ่มหรือลดได้ แต่ถ้าเป็นแบบได้นามิก ไม่จองเนื้อที่ ทำให้พื้นที่ว่างพอจะนำไปใช้ได้อีก Algorithm เป็นการแก้ปัญหาแบบมีระบบ กระชับรัดกุม มีรูปแบบที่สั้นและมีข้อกำหนด

#include <stdio.h>
#include <string.h>
int main(void){
struct ballot{
char name[15];
char address[50];
char telephone[10];
char promotion[30];
int price;
int salary;
float bonus;
char smack[15];
}coffee_shop;
struct coffee_shop;
strcpy(coffee_shop.name,"MoMo");
strcpy(coffee_shop.address,"Bangkok");
strcpy(coffee_shop.telephone,"028893316");
strcpy(coffee_shop.promotion,"buy 1 a cup 1 in add ition a cup")
coffee_shop.price=45;
coffee_shop.salary=6000;
coffee_shop.bonus=395.50;
strcpy(coffee_shop.smack,"cappuccino");
printf("name:%s\n\n",coffee_shop.name);
printf("address:%s\n\n",coffee_shop.address);
printf("telephone:%s\n\n",coffee_shop.telephone);
printf("promotion:%s\n\n",coffee_shop.promotion);
printf("price:%d\n\n",coffee_shop.price);
printf("salary:%d\n\n",coffee_shop.salary);
printf("bonus:%f\n\n",coffee_shop.bonus);
printf("smack:%s\n\n",coffee_shop.smack);
}

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


นางสาวปัฐพร วงศ์ศิริวาทิน ชื่อเล่น แอน รหัสประจำตัว 50132792007

Miss. Pattaporn Wongsiriwatin

หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-mail : u50132792007@gmail.com